“ปรัชญาชีวิต หรือปรัชญาในการดำเนินชีวิต คือแบบอย่างให้คนสามารถยึดถือ และให้คุณค่าอันนำไปสู่พฤติกรรมของมนุษย์ หรือที่เรียกกันว่า เป็นทัศนะที่แฝงอยู่เบื้องหลังพฤติกรรมมนุษย์” ปรัชญา สามารถกำหนดแนวทางในการดำเนินชีวิตได้ ปรัชญา สามารถตรวจสอบความเชื่อพื้นฐานของมนุษย์ ปรัชญา สามารถช่วยให้เป็นคนมีเหตุมีผล ปรัชญา สามารถทำให้เข้าใจชีวิตมากขึ้น สถานการณ์ “โควิด-19” ในปัจจุบัน ถือเป็นสถานการณ์ร้ายแรงระดับโลก เพราะตัวเชื้อไวรัสสามารถแพร่กระจายได้เร็ว ฟักตัวนาน เป็นแล้วสังเกตอาการได้ยาก เป็นหนักสามารถลงปอดอาจทำให้ถึงตายได้ ที่สำคัญยังเป็นภัยร้ายสำหรับเหล่าผู้สูงอายุ ที่สามารถพรากชีวิตผู้สูงอายุ ที่อายุมากๆ ไปได้โดยง่าย ซึ่ง ณ ตอนนี้ประเทศของเราเอง ก็เริ่มออกมาตรการมาหลากหลายอย่าง โดยมาตรการที่สำคัญที่สุด นั่นก็คือการผลักดันให้ผู้คนอาศัยอยู่แต่ในบ้าน จนกว่าหน่วยงานทางการแพทย์จะสามารถควบคุมโรคดังกล่าวเอาไว้ได้โดยสมบูรณ์ หนังสือปรัชญาชีวิต ไม่ใช่สิ่งที่จะมาช่วยเหลือมนุษย์ให้หลุดพ้นจากไวรัสโควิด-19 ...
“ไคเซ็น คือปรัชญาการปรับปรุง และพัฒนาองค์กร” ไค (Kai) แปลว่าการเปลี่ยนแปลง เซ็น (Zen) แปลว่า ดี หรือ ดีขึ้น “ไคเซ็น” หรือ “Kaizen” หรือ “カイゼン” คือแนวคิดที่ประกอบไปด้วยกระบวนการ 4 อย่าง คือ Plan-Do-Check-Act คือ การดูปัญหา การวางแผนหาวิธีแก้ไขปัญหา การลงมือทำหรือการทดลองทำ แล้วทำการตรวจสอบเพื่อดูว่าปัญหาที่ได้รับการแก้ไขไปนั้น เป็นไปตามที่ต้องการหรือไม่ ไคเซ็น จึงถือเป็นปรัชญาแนวคิดเกี่ยวกับการพัฒนาองค์กร หรือเปลี่ยนแปลงให้ดียิ่งขึ้น ตามชื่อคำแปลตรงๆ ของ ไคเซ็น ที่แปลว่า “การปรับปรุงให้ดีขึ้นกว่าเดิม” หลัก ...
“ปรัชญาชีวิตญี่ปุ่น ทำให้คนญี่ปุ่นมีอายุที่ยืนยาว และถูกยกย่องให้เป็นประชาชนที่มีคุณภาพ” ญี่ปุ่นมีปรัชญาชีวิตที่น่าสนใจอยู่ 5 อย่าง อิคิไก, คินสึงิ, อิจิโกะ อิจิเอะ, วาบิซาบิ และ โคดาวาริ หนังสือที่เขียนเกี่ยวกับ อิคิไก เป็นเล่มแรกคือ The Little Book of Ikigai : The secret Japanese way to live a happy and long life โดยอาจารย์เคน โมหงิ ในทุกวันนี้ คุณหาความสุขได้หรือไม่ ? … มันอาจจะดูเป็นคำถามที่แปลกไปเสียหน่อย แต่ผมจำได้ดี ตอนที่เคยโดนถามด้วยคำถามนี้ ...